วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557

คำสั่ง SQL

คำสั่งที่ใช้ในการลบ index


คำสั่ง : ALTER TABLE table_name
DROP INDEX index_name;
ตัวอย่าง : CREATE INDEX person_index
ON person ( first_name, last_name );

ALTER TABLE person
DROP INDEX person_index;



คำสั่งที่ใช้ในการสร้าง index


คำสั่ง : CREATE INDEX index_name
ON table_name ( column_name_1, column_name_2, ..., column_name_n );  
ตัวอย่าง : CREATE INDEX person_index
ON person ( first_name, last_name );



คำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนชื่อตาราง


คำสั่ง : RENAME table_old_name
TO table_new_name;
ตัวอย่าง : CREATE TABLE person
(
     id int(11) PRIMARY,
     first_name varchar(50),
     last_name varchar(50)
);
RENAME person TO customer;



คำสั่งที่ใช้ในการลบตาราง


คำสั่ง : DROP TABLE table_name;
ตัวอย่าง : CREATE TABLE person
(
     id int(11) PRIMARY,
     first_name varchar(50),
     last_name varchar(50)
);
DROP TABLE person;



คำสั่งที่ใช้ในการสร้างตาราง


คำสั่ง : CREATE TABLE table_name
( column_name_1 column_type,
     column_name_2 column_type,
     .....,
     column_name_n column_type);
ตัวอย่าง : CREATE TABLE person
(id int(11) PRIMARY,
     first_name varchar(50),
     last_name varchar(50)




คำสั่งที่ใช้ในการเรียกดูข้อมูลในตาราง


ใช้ในการเรียกดูข้อมูลจากตาราง ( query )

คำสั่ง : SELECT [ ALL | DISTINCT | TOP n ] column_name_1, column_name_2, ..., column_name_n
FROM table_name
[ IN database_name ]
[ WHERE condition ]
[ GROUP BY column_name_1, column_name_2, ..., column_name_n ]
[ HAVING condition ]
[ ORDER BY column_name_1 [ ASC | DESC ], ..., column_name_n [ ASC | DESC ] ]
[ LIMIT m ];
ตัวอย่าง : SELECT DISTINCT country
FROM person
ORDER BY country;

ใช้ในการเรียกดูข้อมูลในตาราง ดังนี้
ALL คือ เลือกทั้งหมดทุกแถว ( เป็นค่า default )
DISTINCT คือ แสดงข้อมูลเฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน
TOP n [ PERCENT ] คือ เลือกมา n แถวนับจากบนสุด หรือเลือกมา ( (n * จำนวนแถวทั้งหมด ) / 100 ) แถว

LIMIT m คือ เลือกมา m แถวนับจากแถวบนสุด ( ถ้าใช้ ORDER BY RAND() LIMIT m คือเลือกมา m แถวแบบสุ่ม )

ASC ใช้เรียงค่าข้อมูล จากน้อยไปมาก
DESC ใช้เรียงค่าข้อมูล จากมากไปน้อย

IN database_name ถ้าไม่กำหนดจะใช้ฐานข้อมูลปัจจุบันที่ติดต่ออยู่




คำสั่งที่ใช้ในการลบฐานข้อมูล


คำสั่ง : DROP DATABASE database_name;
ตัวอย่าง : DROP DATABASE labcode;



คำสั่งที่ใช้ในการสร้างฐานข้อมูล



คำสั่ง : CREATE DATABASE database_name;
ตัวอย่าง : CREATE DATABASE labcode;






คำสั่ง Update


คำสั่ง UPDATE ใช้ในประโยคคำสั่งสำหรับการปรับปรุงค่าในเรคคอร์ด
ไวยากรณ์
UPDATE tablename
SET fieldname = expression
WHERE [condition];
[ ] ตัวเลือก
UPDATE Authors SET [Year Born] = 1961 WHERE Author = ‘Frank Whale’;



คำสั่ง Insert Into


คำสั่ง INERT INTO ใช้ในประโยคคำสั่งสำหรับการเพิ่มเรคคอร์ดใหม่
ไวยากรณ์
INERT INTO tablename [(fieldname1, fieldname2,...)]
VALUES (value1, value 2,...);
[ ] ตัวเลือก

หมายเหตุจำนวน value ต้องเท่ากับ fieldname
INERT INTO Authors (Author, [Year Born] VALUES (‘Frank Whale’, 1960);


ที่มา http://code.function.in.th/sql

ฟังก์ชันใน PHP

ฟังก์ชันในโปรแกรมส่วนใหญ่ได้รับการเรียกคำสั่งเพื่อทำงานอย่างเดียว สิ่งนี้ทำให้คำสั่งอ่านได้ง่ายและยอมให้ใช้คำสั่งใหม่แต่ละครั้งเมื่อต้องการทำงานเดียวกัน

ฟังก์ชันเป็นโมดูลเก็บคำสั่งที่กำหนดการเรียกอินเตอร์เฟซ ทำงานเดียวกัน และตัวเลือกส่งออกค่าจากการเรียกฟังก์ชัน คำสั่งต่อไปเป็นการเรียกฟังก์ชันอย่างง่าย
my_function ();

คำสั่งเรียกฟังก์ชันชื่อ my_function ที่ไม่ต้องการพารามิเตอร์ และไม่สนใจค่าที่อาจจะส่งออกโดยฟังก์ชันนี้

ฟังก์ชันจำนวนมากได้รับการเรียกด้วยวิธีนี้ เช่น ฟังก์ชัน phpinfo () สำหรับแสดงเวอร์ชันติดตั้งของ PHP สารสนเทศเกี่ยวกับ PHP การตั้งค่าแม่ข่ายเว็บ ค่าต่างๆ ของ PHP และตัวแปร ฟังก์ชันนี้ไม่ใช้พารามิเตอร์และโดยทั่วไปไม่สนใจค่าส่งออก ดังนั้นการเรียก phpinfo () จะประกอบขึ้นดังนี้

phpinfo ();

การกำหนดฟังก์ชันและการเรียกฟังก์ชัน

การประกาศฟังก์ชันเริ่มต้นด้วยคีย์เวิร์ด function กำหนดชื่อฟังก์ชัน พารามิเตอร์ที่ต้องการ และเก็บคำสั่งที่จะประมวลผลแต่ละครั้งเมื่อเรียกฟังก์ชันนี้

<?php

function function_name(parameter1,…) 
{

ชุดคำสั่ง …


?>

ชุดคำสั่งต้องเริ่มต้นและสิ้นสุดในวงเล็บปีกกา ({ }) ตัวอย่างฟังก์ชัน my_function

<?php 
function my_function() 
{

$mystring =<<<BODYSTRING 
my function ได้รับการเรียก

BODYSTRING; 
echo $mystring;


?>

การตั้งชื่อฟังก์ชัน

สิ่งสำคัญมากในการพิจารณาเมื่อตั้งชื่อฟังก์ชันคือชื่อต้องสั้นแต่มีความหมาย ถ้าฟังก์ชันสร้างส่วนตัวของเพจควรตั้งชื่อเป็น pageheader () หรือ page_header ()

ข้อจำกัดในการตั้งชื่อคือ

ฟังก์ชันไม่สามารถมีชื่อเดียวกับฟังก์ชันที่มีอยู่
ชื่อฟังก์ชันสามารถมีได้เพียงตัวอักษรตัวเลข และ underscore
ชื่อฟังก์ชันไม่สามารถเริ่มต้นด้วยตัวเลข
หลายภาษายอมให้ใช้ชื่อฟังก์ชันได้อีก ส่วนการทำงานนี้เรียกว่า function overload อย่างไรก็ตาม PHP ไม่สนับสนุน function overload ดังนั้นฟังก์ชันไม่สามารถมีชื่อเดียวกันกับฟังก์ชันภายใน หรือฟังก์ชันกำหนดเองที่มีอยู่

หมายเหตุ ถึงแม้ว่าทุกสคริปต์ PHP รู้จักฟังก์ชันภายในทั้งหมด ฟังก์ชันกำหนดเองอยู่เฉพาะในสคริปต์ที่ประกาศสิ่งนี้หมายความว่า ชื่อฟังก์ชันสามารถใช้ในคนละไฟล์แต่อาจจะไปสู่ความสับสน และควรหลีกเลียง

ชื่อฟังก์ชันต่อไปนี้ถูกต้อง 
name ()
name2 ()
name_three ()
_namefour ()

ชื่อไม่ถูกต้อง 
5name ()
Name-six ()
fopen ()

การเรียกฟังก์ชันไม่มีผลจากชนิดตัวพิมพ์ ดังนั้นการเรียก function_name (), Function_Name() หรือ FUNCTION_NAME() สามารถทำได้และมีผลลัพธ์เหมือนกัน แต่แบบแผนการกำหนดชื่อฟังก์ชันใน PHP ให้ใช้ตัวพิมพ์เล็ก

ชื่อฟังก์ชันแตกต่างจากชื่อตัวแปร โดยชื่อตัวแปรเป็นชนิดตัวพิมพ์มีผล ดังนั้น $Name และ $name เป็น 2 ตัวแปร แต่ Name () และ name () เป็นฟังก์ชันเดียวกัน

การหยุดประมวลผลภายในฟังก์ชัน

คีย์เวิร์ด return หยุดการประมวลผลฟังก์ชัน ฟังก์ชันสิ้นสุดได้เพราะประโยคคำสั่งทั้งหมดได้รับการประมวลผล หรือ ใช้คีย์เวิร์ด return การประมวลผลกลับไปยังประโยคคำสั่งต่อจากการเรียกฟังก์ชัน

<?php

function division($x, $y) 
{

if ($y == 0 || !isset($y)) 
{

echo " ตัวหาร y ต้องไม่เป็นศูนย์หรือไม่มีค่า" ; 
return;

}

$result = $x / $y; 
echo $result;


?>

ถ้าประโยคคำสั่ง return ได้รับการประมวลผล บรรทัดคำสั่งต่อไปในฟังก์ชันจะถูกข้ามไป และกลับไปยังผู้เรียกฟังก์ชันนี้ ในฟังก์ชันนี้ ถ้า y เป็น 0 จะหยุดการประมวลผล ถ้า y ไม่เท่ากับ 0 จะคำนวณผลหาร

สมมติป้อนค่าเป็น 
x = 4, y = 0
x = 4
x = 4, y = 2

ผลลัพธ์ของคำสั่ง คือ
x = 4, y = 0 ผลลัพธ์ ตัวหาร y ต้องไม่เป็นศูนย์หรือไม่มีค่า
x = 4, y = ผลลัพธ์ ตัวหาร y ต้องไม่เป็นศูนย์หรือไม่มีค่า
x = 4, y = 2 ผลลัพธ์ 2

การเรียกฟังก์ชัน

เมื่อฟังก์ชันได้รับการประกาศหรือสร้างขึ้นแล้ว การเรียกฟังก์ชันสามารถเรียกมาจากที่ใดๆ ภายในสคริปต์ หรือ จากไฟล์ที่มีการรวมด้วยประโยคคำสั่ง include() หรือ require()

ตัวอย่าง ฟังก์ชัน show_message() เก็บอยู่ในไฟล์ fn_ 03 _keeper.php ส่วนผู้เรียกอยู่ในสคริปต์ fn_ 03 _caller.php

<?php

include("fn_ 03 _keeper.php");
show_message();

?>

ข้อสอบ O-NET คอมพิวเตอร์

1.ไฟล์ประเภทใดในข้อต่อไปนี้เก็บข้อมูลในลักษณะตัวอักษร.
1.  ไฟล์เพลง  MP 3 (mp 3)
2.  ไฟล์รูปประเภท  JPEG (jpeg)
3.  ไฟล์แสดงผลหน้าเว็บ (html)
4.  ไฟล์วีดีโอประเภท  Movie (movie)


2.ประเทศไทยได้นำคอมพิวเตอร์มาติดตั้งเมื่อไหร่
1. พ.ศ.2504                    2. พ.ศ.2505
3. พ.ศ.2506                   4. พ.ศ.2507

3.การส่งต่อข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ปัจจุบันเป็นแบบใด
1. Digital                          2. laser
3. analog                          4. Modem

4.ลิขสิทธิ์โปรแกรมประเภทรหัสเปิด(Open Source)อนุญาติให้ผู้ใช้ทำอะไรได้บ้าง.
ก.  นำโปรแกรมมาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์
ข.  ทดลองใช้โปรแกรมก่อนถ้าพอใจจึงจ่ายค่าลิขสิทธิ์
ค.  แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมเองได้
1.  ข้อ  ก กับ  ข้อ        2.  ข้อ    กับ  ข้อ  
3.  ข้อ    อย่างเดียว    4
  ข้อ    อย่างเดียว

5.ผู้ประกอบอาชีพเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องเชี่ยวชาญความรู้ด้านใดบ้างจากตัวเลือกต่อไปนี้.ก.  ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์       ข.  ระบบปฎิบัติการ
ค.  เว็บเซิร์ฟเวอร์                   ง.  HTML
จ.  ระบบฐานข้อมูล                ฉ.  ภาษาจาวา(Java)
1.  ข้อ  ก และ ค                    2.  ข้อ    และ  
3.  ข้อ    และ                     4.  ข้อ    และ  


6.ข้อใดเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อข้อมูลไร้สายทั้งหมด.
1.  Wi-Fi  ,  IP              2.  Wi-Fi  ,Bluetooth
3.  3G  ADSL                4.  3G    Ethernet



7.หน่วยความจำที่ผู้ใช่สามารถบันทึก แก้ไขได้
1. TERMINAL                     2. ROM
3.  RAM                                  4. BIT

8.ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์.1.  การทำผิดกฏหมายลิขสิทธิ์มีความผิดทางอาญา
2.  เป็นช่องทางหนึ่งในการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์
3.  ผู้ใช้จะไม่ได้รับการบริการจากผู้พัมนาถ้าหากมีปัญหาการใช้งาน
4.  ทำให้ผู้พัมนาซอฟแวร์ไม่มีรายได้เพื่อประกอบการและพัฒนาต่อไปได้


9.ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด.1.  การบันทึกข้อมูลลงแผ่นดีวีดีใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก
2.  หมายเลขไอพีเป็นหมายเลขที่ใช้กำกับ  Network Interce Card
3.  หน่วยความจำสำรองเป็นหน่วยความจำที่มีคุณลักษณะแบบ Volntile
4.  รหัส ACIIและEBCIDICเป็นการวางรหัสตัวอักษรที่ใช้ขนาด  8 บิด


10.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของหน่วยความจำ
1. ROM                                       2.  RAM
3.  PROMPT                               4. EPROM

ที่มา : http://www.unigang.com/Article/1564